กรณีที่ผู้ตายได้ทำพินัยกรรมไว้ ไม่เพียงแต่ระบุการแบ่งสัดส่วนมรดกเท่านั้น แต่ยังสามารถระบุ ผู้จัดการมรดก ได้ด้วย
หากผู้จัดการมรดกละเลยไม่ทำตามหน้าที่ ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกหรือผู้มีส่วนได้เสียจะร้องขอให้ศาลมีคำสั่งถอนผู้จัดการมรดก เพราะเหตุผู้จัดการมรดกละเลยไม่ทำตามหน้าที่หรือเพราะเหตุอย่างอื่นที่สมควรก็ได้ และอาจมีความผิดอาญามีโทษจำคุกได้
การทำความเข้าใจเรื่องทรัพย์สินสมรสกันตั้งแต่ก่อนจดทะเบียนสมรส จะได้ไม่เข้าใจผิดหรือไปหวังอะไรที่กฎหมายไม่ได้ให้สิทธิไว้ครับ โดยเฉพาะชาวต่างชาติเพราะกฎหมายที่ต่างประเทศหลายประเทศ รวมเอาสินส่วนตัวที่มีมาก่อนสมรสมาเป็นสินสมรสด้วย
การตั้งผู้จัดการมรดก คือ กระบวนการทางศาลที่รับรองหรือแต่งตั้งให้คนๆหนึ่ง เป็นผู้จัดการมรดก มีสิทธิและหน้าที่ในการจัดการมรดก
ก่อนจดทะเบียนสมรสหมดปัญหาการทะเลาะกันและวางแผนกันได้ง่ายขึ้นแน่นอน
ขั้นตอนหนึ่งที่เอาไว้ “หยุด” พวกผู้จัดการมรดกจอมขี้โกง ไม่ให้โกงเราไปมากกว่านี้ คือ การถอนผู้จัดการมรดก
คู่สมรสจะได้ทรัพย์สินของคนตาย ซึ่งในที่นี้ก็รวมเป็นทั้งสินสมรสและมรดก เยอะที่สุดครับ ไม่ว่าจะแบ่งกับ พ่อแม่คนตาย ลูกหรือญาติพี่น้องคนไหนๆ
คุณพ่อคนไหนที่จดทะเบียนสมรสกับแม่แล้วลูกคลอดออกมา คุณได้สิทธิในตัวลูกเท่ากับแม่ทันที
ไม่ว่าจะเป็นกรณีที่มีพินัยกรรมหรือไม่มีพินัยกรรมก็ต้องมีผู้จัดการมรดกเหมือนกัน
อายุมากขนาดไหนก็สามารถทำพินัยกรรมได้ ขอแค่สติยังไม่เลอะเลือนก็พอ
- 1
- 2